1.การฝึกควรเริ่มฝึกเด็กให้คิดจากสิ่งที่ง่ายก่อน แล้วจึงไป
สิ่งที่ยากขึ้น
สิ่งที่ยากขึ้น
2.เตรียมเด็กโดยการกระตุ้นหรือส่งเสริมให้เด็กสนใจสิ่งที่อยู่รอบตัว
และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ
3.การฝึกควรกำหนดจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ทุกครั้ง
4.สร้างนิสัยความอยากรู้ อยากเห็น และการค้นคว้าฝ่ารู้ให้เด็ก
5.ใช้หัวข้อที่เด็กคุ้นเคย รู้จัก หรือสนใจ แล้วกำหนดเป็นคำถาม
6.สอนและฝึกให้เด็กรู้จักการเปรียบเทียบ ความเหมือน และ
6.สอนและฝึกให้เด็กรู้จักการเปรียบเทียบ ความเหมือน และ
ความแตกต่าง
7.ฝึกให้เด็กหัดเชื่อมโยงรูปภาพ สถานการณที่จำลองกับของจริง
8.จัดเตรียมคำถามที่กระตุ้นให้เด็กจินตนาการ และให้โอกาสเด็กได้สื่อออกมาถึงพลังความนึกคิดควบคู่ไปกับทักษะการแก้ปัญหา
9.พัฒนาทักษะการคิดควบคู่ไปกับทักษะการแก้ปัญหา
9.พัฒนาทักษะการคิดควบคู่ไปกับทักษะการแก้ปัญหา
10.สนับสนุนและส่งเสริมให้เด็กมีอิสระในการคิด การถาม และ
การแสดงออก
11.สร้างความมั่นใจ พร้อมทั้งให้กำลังใจ
12.ให้เวลาในการคิด ไม่เร่งรัด เพราะอาจทำให้เด็กเกิดความเครียด
11.สร้างความมั่นใจ พร้อมทั้งให้กำลังใจ
12.ให้เวลาในการคิด ไม่เร่งรัด เพราะอาจทำให้เด็กเกิดความเครียด
และไม่ควรจำกัดการคิดของเด็ก
เทคนิคทั้ง 12 ข้อที่กล่าวมานี้จะช่วยให้การฝึกเด็กให้หัดคิดมีประสิทธิภาพ และพัฒนาเป็นนักคิดที่ดีต่อไป คุณพ่อคุณแม่ที่อยากให้ลูกเป็นนักคิดที่ดี ก็ต้องเตรียมลูกให้พร้อม และฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอตามที่ได้กล่าวไว้ ข้างต้นว่าวิธีการฝึกให้เด็กเป็นนักคิดสามารถทำได้หลายรูปแบบ ซึ่งจะเลือกใช้วิธีใดนั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ที่สำคัญคือวิธีการที่ใช้นั้นควรเอื้อให้เด็กได้เรียนรู้และมีโอกาสใช้ความ คิดของตัวเอง และควรดำเนินไปตามธรรมชาติ ไม่เร่งรัด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น